ธรรมะCOVID : อยู่กับโควิดอย่างไร? ใจจึงเป็นสุข

ธรรมะCOVID : อยู่กับโควิดอย่างไร? ใจจึงเป็นสุข โควิด หรือ COVID เป็นชื่อไวรัส  ไวรัสจัดเป็น "ธรรมะ" หรือ "ธรรมชาติชนิดหนึ่ง" ที่เกิดและเติบโตตามวิถีแห่งธรรมชาติ ในขณะเดียวกัน ร่างกายเราก็เป็นผลผลิตจากธรรมชาติ ในความเป็นธรรมชาตินั้น มักจะทำงานแบบพึ่งพาอาศัย ถ่ายโอน และเชื่อมสมานอย่างเป็นพลวัตของกันและกัน เมื่อทั้งคู่เป็นธรรมชาติ เขาจึงพยายามแสวงหาหนทางที่จะอยู่ด้วยกัน ในวิถีของการพึ่งพา และอาศัยกันและกัน แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนี้ กลับไม่ได้อยู่ที่ธรรมชาติ หรือธรรมนิยาม...

MOU ประวัติศาสตร์ ประกาศความร่วมมือจัดการศึกษาพุทธไทย-มอญ ชาวพุทธมอญกว่า 1,000 ร่วมเป็นสักขีพยาน

ประกาศความร่วมมือจัดการศึกษาพุทธไทย-มอญ ชาวพุทธมอญกว่า 1,000 ร่วมเป็นสักขีพยาน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนารามัญรัฐ เมืองเมาะลำเลิง รัฐมอญ ประเทศพม่า  ชาวพุทธมอญ ทั้งพระสงฆ์และญาติโยมกว่า 1,000 รูป/คน นำโดยประมุขสงฆ์มอญ ภัททันตะ วันนามหาเถระ  ร่วมเป็นสักขีพยานในการลงนามความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยพุทธศาสตร์นานาชาติ มหาจุฬาฯ  และมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนารามัญรัฐ พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส ผู้อำนวยการวิทยาลัยพุทธศาสตร์นานาชาติ...

จากหมู่บ้านช่อสะอาดสู่ตำบลช่อสะอาด มูลนิธิต่อต้านการทุจริต เปิดตัวต้นแบบตำบลช่อสะอาด ครอบคลุมทั้ง 4 ภาค

  ระหว่าง 27-29 เมษายน 2562 ณ บ้านท่าคอยนาง จังหวัดศรีสะเกษ ในฐานะต้นแบบหมู่บ้านช่อสะอาดแห่งแรกของประเทศไทย มูลนิธิต่อต้านการทุจริต นำโดย ศ.พิเศษวิชา มหาคุณ และคณะกรรมการมูลนิธิฯ ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ และเปิดตัวต้นแบบตำบลช่อสะอาด ทั้ง 4 ภาค ประกอบด้วย ต.รำแดง จ.สงขลา ภาคใต้ ต.โพสะ จ.อ่างทอง...

ประกาศก้องบนเวทีวัชรยานโลก No man is an island : ไม่มีผู้ใดอยู่ได้เพียงลำพัง ทุกนิกายผนึกกำลังตอบโจทย์โลกยุคดิจิทัล

วานนี้ (20 เมษายน 2562) ณ ศูนย์ภูฏานศึกษา เมืองพิมพู ประเทศภูฏาน ภายหลังที่สมเด็จพระราชาธิบดี จิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังซุก ได้เสด็จพระราชดำเนินมาพบปะ และแลกเปลี่ยนมุมมองในพิธีเลี้ยงอาหารว่างกับเหล่านักวิชาการเป็นการส่วนพระองค์แล้ว หลังจากนั้น จึงเข้าสู่บรรยากาศการประชุมวัชรยานโลก ในหัวข้อเทคนิคการปฏิบัติเพื่อเข้าถึงความจริงสูงสุดตามแนวทางของวัชรยาน โดยมีนักวิชาการจากโลกตะวันตก ตะวันออก และภูฏาน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนในมุมมองที่หลากหลาย พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, รศ.ดร....

“ตัดเสื้อให้เหมาะกับผู้ใช้” วิพากษ์กระบวนการเรียนรู้ที่มีสติสมาธิเป็นฐาน ก่อนนำไปทดลองและประกาศใช้ในสถานศึกษา

“ตัดเสื้อให้เหมาะกับผู้ใช้” วิพากษ์กระบวนการเรียนรู้ที่มีสติสมาธิเป็นฐาน ก่อนนำไปทดลองและประกาศใช้ในสถานศึกษา หนึ่งในบรรดาของใช้สอยนั้น มีอยู่สิ่งหนึ่งที่  “ผู้สั่งไม่ได้ใช้ ผู้ใช้ไม่ได้สั่ง” สิ่งที่ว่านั้นคือ “โลงศพ”  การเรียนการสอนพระพุทธศาสนาในสถานศึกษาในตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมาก็เฉกเช่นเดียวกัน ผู้เรียนไม่ได้ออกแบบ และผู้ออกแบบไม่ได้เรียน   คณะกรรมการปฏิรูปการสอนพระพุทธศาสนาในสถานศึกษา นำโดย ศ.กิตติคุณบวรศักดิ์ อุวรรณโณ จึงได้เปิดโอกาสให้นักเรียนบอกความต้องการแต่เริ่มแรกว่า วิชาพระพุทธศาสนาที่นักเรียนต้องการควรมีรูปร่างหน้าตาย่างไร จึงจะสมารถตอบโจทย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้ ความใส่ใจต่อข้อเรียกร้องของผู้ใช้หลักสูตรดังกล่าว จึงเปิดพื้นที่ให้นักเรียนชั้นประถมและมัธยมมาร่วมกันบอกถึงความต้องการในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ตั้งแต่ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561...

ปฐมนิเทศพระใหม่ สร้างแรงบันดาลใจ “ใฝ่รู้สู่การปฏิบัติ”

ปฐมนิเทศพระใหม่ สร้างแรงบันดาลใจ “ใฝ่รู้สู่การปฏิบัติ” หนุ่มออฟฟิศชาวสิงค์โปร์ ฝันมาตลอดว่า ตัวเองได้บวชเป็นพระในพระพุทธศาสนา ในที่สุด ความฝันก็กลายเป็นจริง มุ่งมั่นตั้งใจท่องคำขานนาคเป็นภาษาบาลีอย่างคล่องแคล้ว จนบวชเป็นพระภิกษุ ที่พระอุปัชฌาย์ พระครูวรรณสารโสภณ รองเจ้าคณะอำเภอปรางค์กู่ จึงให้นาม(ฉายา)ว่า "กิตฺติภทฺโท" อีกหนุ่มเป็นชาวไทย เรียนหลักสูตรอินเตอร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่เพียรพยายามค้นหาตัวเอง ว่าจริงๆ คุณค่าและความหมายของชีวิตคืออะไร?!? เพื่อที่จะตอบโจทย์ดังกล่าว จึงตัดสินใจเข้ามาบวชภายใต้ชื่อใหม่(ฉายา)ว่า "กิตฺติธมฺโม"   การบวช และปฏิบัติตนในวัดบ้าน หรือวัดในเมืองกรุง จึงไม่อาจตอบโจทย์ของภิกษุหนุ่มทั้งสองรูปได้อย่างชัดแจ้ง...

ด้วยคารวะจากใจ พระวิเทศปุญญาภรณ์ (บุญทิน เทาศิริ เจ้าคุณสวีเดน) เจ้าอาวาสวัดพุทธาราม ประเทศสวีเดน

การศึกษาไม่มีวันสิ้นสุด ใกล้ความเป็นจริงที่จะสำเร็จการศึกษา ปริญญาเอก ดร. หลักสูตรพุทธบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) สอบป้องกันผ่านดุษฎีนิพนธ์ “เรื่องกุลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักปฏิสัมภิทา ๔ ของพระธรรมทูตไทยในทวีปยุโรป” กราบขอบพระคุณ และอนุโมทนาท่านอาจารย์ที่ปรึกษา พระมหาญาณวัตร ฐิตวฑฺฒโน,ดร., ดร.บุญเชิด ชำนินิศาสตร์, และประธานเล่ม ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน พระปลัดปิยศักดิ์ ปิยธมฺโม,ดร.ผอ.วิทยาเขต มจร, ดร.บุญทิพย์ ผอ.ประจำหลักสูตร,...

๑๘ มกราคม ย้อนรอยที่มาของ “ภาพวาดสมเด็จพระนเรศวรมหาราช”

....ของสำนักค้นคว้าทางวิญญาณ และอาจารย์ลาวัณย์ อุปอินทร์ (ดาวราย) อาจารย์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) “วันยุทธหัตถี” หรือที่เรียกว่า “วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” หมายถึง วันที่ระลึกที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะต่อสมเด็จพระมหาอุปราชาของพม่า เมื่อวันจันทร์ เดือน ๒ แรม ๒ ค่ำ จุลศักราช ๙๕๔ ตรงกับวันที่ ๑๘ มกราคม...

เสียงกลอง เสียงระฆัง เสียงแห่งสัญลักษณ์… “วิถีไทย-วิถีพุทธ”

ตีกลอง ตีฆ้อง ตีระฆัง ในสมัยก่อนบ้านเมืองยังไม่เจริญอย่างในปัจจุบันนี้ นาฬิกามักจะมีเฉพาะตามวัดเท่านั้น พระท่านก็ต้องตีกลองหรือฆ้องระฆัง เป็นสัญญาณบอกให้ทราบเวลาเป็นระยะๆ ไป เช่น ในเวลา ๑๘.๐๐ น. ตามวัดต่างๆ ในชนบทท่านมักจะ ย่ำกลอง หรือ ย่ำฆ้อง ย่ำระฆัง เพื่อบอกเวลาให้ชาวบ้าน ด้วยเหตุที่ทุกวันนี้ชาวบ้านมักมีนาฬิกาใช้กันทั่วไปแล้ว การย่ำกลอง ย่ำฆ้อง หรือย่ำระฆัง ในปัจจุบันจึงชักค่อยๆ หมดไป แต่ก็ยังคงพอได้ยินเสียงกลองเพล...

ศูนย์พิทักษ์พระพุทธศาสนาฯ ขอตอบปัญหา “โต ซิลลี่ ฟูลส์” ครูสอนศาสนาอิสลาม

ทำไมอิสลามถึงไม่มีรูปปั้น เหมือนชาวพุทธ จากกรณีที่ โต ซิลลี่ ฟูลส์ หรือ นายฟิรเดาส์(วีรชน) ศรัทธายิ่ง ครูสอนศาสนาอิสลาม ได้จัดรายการ "โต ตาล" คู่กับ นายมูฮัมหมัดอาลี(ตาล) รามบุตร ในรายการ โต-ตาล เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2561 ทาง Fanpage รายการ...
- Advertisement -

ข่าวใหม่ประจำวันนี้

ท่องแดนธรรมวัดไผ่ล้อม จังหวัดนครปฐม

จุดเช็คอินวัดไผ่ล้อมที่ไม่พลาด!!!   https://youtu.be/PHEiFWpvBOA

กระแสตอบรับดีเกินคาด วธ.ปลื้มใจและพร้อมผลักดัน Soft Power ของไทย-ทุนทางวัฒนธรรม-ศิลปินพื้นบ้าน ผ่านกิจกรรมงานวัฒนธรรมอย่างยิ่งใหญ่ ช่วยสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ในชุมชนอย่างยั่งยืน

นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กล่าวว่า เมื่อเร็วๆ นี้ ในการประชุมคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2566 ซึ่งมีนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรีในฐานะประธานกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (กวช.) เป็นประธาน สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม (สป.วธ.) กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) ได้รายงานต่อที่ประชุมถึงการดำเนินงานที่มุ่งส่งเสริมการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับศิลปิน เครือข่ายทางวัฒนธรรม ผู้ประกอบการสินค้า และบริหารทางวัฒนธรรม...

องคุลีมาลยังเอาไม่อยู่ เมื่อพระติดพนันออนไลน์

องคุลีมาลยังเอาไม่อยู่ เมื่อพระติดพนันออนไลน์                เจริญพรญาติโยมผู้อ่านทุกท่าน อย่างที่ผู้ติดตามอ่านจุดไฟในใจคนได้รับทราบมาโดยตลอดถึงโครงการต่าง ๆ ที่อาตมา และคณะสงฆ์วัดไผ่ล้อมได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ได้จัดทำขึ้นเพื่อส่งเสริมให้คนไม่ดีได้กลับตัวเป็นคนดี กลับคืนสู่สังคม ก็มีพระองคุลีมาลเถระเป็นเหมือนสัญลักษณ์แห่งการกลับตัวกลับใจใหม่ ปัจจุบันรูปพระองคุลีมาลเถระก็ประดิษฐานอยู่ที่วัดไผ่ล้อม ที่ใคร ๆ มาถึงวัดก็จะได้เห็นแก่สายตาอย่างชัดเจน เป็นสัญลักษณ์แห่งการให้อภัย การปรับปรุงตนเอง การรู้ตนเอง และแน่นอน ผู้ที่ได้เห็นรูปพระองคุลีมาลมากกว่าใครเพื่อน ก็คือพระสงฆ์ในวัดไผ่ล้อมเรานี่แหละ ตลอดเวลาหลายปีที่ผ่านมา พระสงฆ์วัดไผ่ล้อมจำนวนหนึ่ง จะว่าไปแล้วก็คืออดีตคนที่สังคมตราหน้าว่าเป็นคนชั่ว คนทำไม่ดี...